ธุรกิจเพื่อสุขภาพ
(พรลส ๒๕๒)
(พรลส ๒๕๒)
อาจารย์ผู้สอน
น.ท.หญิง ผศ. สุปราณี พลธนะ
น.ต.หญิง วรลักษณ์ สุวรรณพงษ์
ร.ต.หญิง นีรนุช ช่วยทอง
อาจารย์ ผศ.ดร.ปารเมศ วรเศยานนท์ (parameth.vor@gmail.com)
อาจารย์ ปาณิภา ไซมอน
พว.ธนศิลป์ เอกฉันท์
เวลาเรียน
พฤหัสบดี 10.00 - 12.00 น.
สถานที่เรียน
ห้องเรียน ๒๐๓ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ ศูนย์วิทยาการ กรมแพทย์ทหารเรือ
ปักหมุดข้อมูลสำคัญ/ข่าวประกาศ
ยินดีต้นรับนักศึกษาทุกท่าน
รูปกิจกรรม
ดูคะแนนเก็บ
นักศึกษาสามารถดูคะแนนเก็บของตัวเองได้ ที่นี่
เป้าหมายรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรอบรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเพื่อสุขภาพ สมรรถนะของผู้ประกอบการ ความพร้อมในการดำเนินธุรกิจ การตัดสินใจประกอบธุรกิจ การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพ
คำอธิบายรายวิชา
แนวคิดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเพื่อสุขภาพ สมรรถนะของผู้ประกอบการ ความพร้อมในการดำเนินธุรกิจ การตัดสินใจประกอบธุรกิจ การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพ
Concepts of business for health; entrepreneurial capacity; business readiness; making decision to start a business; health business management
Pre-requisite: None
Designed for: Undergraduate
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
CLO 1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเพื่อสุขภาพ สมรรถนะของผู้ประกอบการ ความพร้อมในการดำเนินธุรกิจ การตัดสินใจประกอบธุรกิจ การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพได้ (PLO1, SubPLO 1.1)
CLO 2: ประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบและบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพได้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย (PLO1, SubPLO 1.1)
CLO 3: ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารกับผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการผู้อื่นได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์ (PLO4, SubPLOs 4.1, 4.2)
CLO 4: สามารถอ้างอิงข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ (PLO6, SubPLOs 6.1)
รายละอียดบทเรียน
สัปดาห์ที่ 1 (9/1) แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเพื่อสุขภาพ
เอกสารอ่านประกอบ: แหล่งที่มาของโอกาสที่จะสร้างธุรกิจ
กิจกรรม: ทดสอบความเป็นผู้ประกอบการ | การวิเคราะห์โอกาสเพื่อพัฒนาความคิดสินค้าหรือบริการ
การบ้าน: แบบคำถามและทางไปตอบ
สัปดาห์ที่ 2 (16/1) การระบุโอกาสและแนวคิดการพัฒนาข้อเสนอคุณค่าทางธุรกิจ
เอกสารการเรียน (PPT)
ข้อมูลอ่านประกอบ: แหล่งที่มาของโอกาสที่จะสร้างธุรกิจ | คุณค่าสินค้าหรือบริการสำหรับลูกค้าทั่วไป | คุณค่าสินค้าหรือบริการสำหรับลูกค้าธุรกิจ | เครื่องมือระบุคุณค่าสินค้าหรือบริการ
แบบฝึกหัด: การวิเคราะห์โอกาสเพื่อพัฒนาความคิดสินค้าหรือบริการ | ทางไปส่งงาน
การบ้าน
วีดีโอ
สัปดาห์ที่ 3 (23/1) การพัฒนาโมเดลทางธุรกิจ
ข้อมูลอ่านประกอบ: โมเดลธุรกิจ...ใช้อย่างไรให้เป็นเงิน
กิจกรรมในชั้นเรียน:
ให้นักศึกษาใช้ฟอร์มโมเดลทางธุรกิจ (Business Model Canvas)
เขียนโมเดลทางธุรกิจของธุรกิจตนเอง
สัปดาห์ที่ 4 (30/1) สถานการณ์และแนวโน้มการประกอบธุรกิจสุขภาพ (ต่อ)
สัปดาห์ที่ 5 (6/2) การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจผ่านการพัฒนางบกำไรขาดทุนล่วงหน้า
สัปดาห์ที่ 6 (13/2) การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า ห่วงโซ่อุปทาน และปัจจัยภายใน
สัปดาห์ที่ 7 (20/2) ปัจจัยภายนอก ปัจจัยวิกฤติ และการทำการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค
เอกสารการเรียน (PPT): ปัจจัยวิกฤติและปัจจัยความสำเร็จ | การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก
ข้อมูลอ่านประกอบ: เอกสารต้นแบบการทำ SWOT
แบบฝึกหัด: กิจกรรมในห้อง | การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก
สัปดาห์ที่ 8 (27/2) สอบกลางภาค
สอบกลางภาค
สัปดาห์ที่ 10 (13/3) มูลค่าเงินตามเวลาและการตัดสินใจในการลงทุน
เอกสารการเรียน: การประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุน
ข้อมูลอ่านประกอบ: มูลค่าเงินตามเวลาและการประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุน | งบดุลย์ (งบแสดงสถานะการเงิน) | งบกระแสเงินสด | เงินทุนหมุนเวียน | ตารางงบการเงินล่วงหน้า
แบบฝึกหัด: การประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุนเครื่องจักรและซอฟท์แวร์ | เอกสารฝึกทำสำหรับการประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุนเครื่องจักร
การบ้าน: ประเมินความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจตนเอง
สัปดาห์ที่ 11 (20/3) เกมธุรกิจ
ข้อมูลอ่านประกอบ: เอกสารระดมสมอง | ข้อมูลช่วยเหลือในการเล่นเกม
สอบย่อย: ทางไปสอบ
เอกสารอื่น: โครงร่างแผนการตลาด | การตรวจสอบแผนการดำเนินการทางการตลาด
สัปดาห์ที่ 12 (27/3) พัฒนาแผนการตลาด
เอกสารประกอบการเรียน: เอกสารประกอบการเรียน | PPT
ข้อมูลอ่านประกอบ: กลุ่มเป้าหมายเลือกอย่างไรให้ตรงเป้า? | นำเสนอสินค้าให้ 'ลูกค้า B2B' อย่างไรให้ได้ขาย? | ลูกค้าแบบเราๆ (B2C) ตัดสินใจซื้อด้วยอะไรบ้าง? | รู้จักลูกค้าสายเปย์ด้วยวงจรความเป็นลูกค้า | ลูกค้าลังเลไม่ซื้อ กลัวอะไร? | เครื่องมือสังเคราะห์ไขพฤติกรรมบุคคล | วัตถุประสงค์ทางการตลาด สร้างอย่างไรให้มั่นใจได้ไปต่อ? |
เครื่องมือ: ต้นแบบการตลาด (ละเอียด) | โครงร่างแผนการตลาด | การตรวจสอบแผนการดำเนินการทางการตลาด | ตัวอย่างแผนการตลาด | ตัวอย่างการพัฒนาแผนตลาดจากสินค้า | การเก็บข้อมูลทางการตลาด | ปัจจัยกระตุ้นทางการตลาด แยกไว้ให้...เอาไปใช้ได้เลย | การหาจำนวนประชากรตัวแทนด้วยทาโร่ยามาเน่ | วิธีเล่าเรื่องให้ดึงดูดใจและใช้งานได้จริงโดยเครื่องมือ SCQA
แบบฝึกหัด:
กรณีศึกษา: media plan | กรณีศึกษาการตลาด Twinings: การปรับตัวสู่ Younger Generation | กรณีศึกษาการตลาด B2B: อาหารและขนมสุนัข Jer-High
การบ้าน: คำแนะนำและพื้นที่ส่งงาน
วีดีโอ: การตลาดบริการ | E-commerce trends | Media landscape | PDPA
สัปดาห์ที่ 13 (3/4) พัฒนาแผนธุรกิจ
เอกสารประกอบการเรียน: โครงร้างแผนธุรกิจอย่างย่อ | โครงสร้างแผนธุรกิจ (ละเอียด)
ข้อมูลอ่านประกอบ: การจัดการความเสี่ยง | แบบฟอร์มการดำเนินการประเมินความเสี่ยง
การบ้าน: คำแนะนำและทางไปส่ง
สัปดาห์ที่ 14 (10/4) พัฒนาแผนธุรกิจ (ต่อ) และพื้นฐานการจัดการธุรกิจ
สัปดาห์ที่ 15 (17/4) การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพ
เอกสารการเรียน (PPT)
ข้อมูลอ่านประกอบ
แบบฝึกหัด:
การบ้าน
วีดีโอ
สัปดาห์ที่ 1ุ6 (24/4) การเป็นพยาบาลผู้ประกอบการด้านสุขภาพ
เอกสารการเรียน (PPT)
ข้อมูลอ่านประกอบ
แบบฝึกหัด:
การบ้าน
วีดีโอ
สัปดาห์ที่ 1ุ7 (1/5) การเป็นพยาบาลผู้ประกอบการด้านสุขภาพ (ต่อ)
เอกสารการเรียน (PPT)
ข้อมูลอ่านประกอบ
แบบฝึกหัด:
การบ้าน
วีดีโอ
สัปดาห์ที่ 1ุ8 (8/5) การนำเสนอแผนธูรกิจด้านสุขภาพ
โจทย์ | ตัวอย่าง | ตัวต้นแบบ | ทางไปส่งงาน | แนวทางการประเมิน
งานกลุ่ม
แผนธุรกิจธุรกิจสุขภาพ (ดาว์โหลดรายละเอียดแผนธุรกิจสุขภาพดังนี้)
เอกสารประกอบการสอน
Scarborough N.M. (2012) Essentials of Entrepreneurship and Small Business Management, 7th eds., Pearson
Oliver L. and Roger N. C. (2013) Principle of responsible management: Global Sustainability, Responsibility, and Ethics, Cengage learning, United States of America
การประเมินผลการเรียนรู้
CLO 1 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเพื่อสุขภาพ สมรรถนะของผู้ประกอบการ ความพร้อมในการดำเนินธุรกิจ การตัดสินใจประกอบธุรกิจ การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพได้ (PLO1, SubPLO 1.1)
ค่าน้ำหนัก: ร้อยละ 40 (มาจากการสอบ MEQ ร้อยละ 40)
CLO 2 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบและบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสุขภาพได้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย (PLO1, SubPLO 1.1)
ค่าน้ำหนัก: ร้อยละ 45 (มาจากการประเมิน การวิเคราะห์สถานการณ์และการอภิปรายกลุ่ม ร้อยละ 15 รวมถึงการประเมินรายงานการออกแบบธุรกิจสุขภาพและการนำเสนอ ร้อยละ 30)
CLO 3 ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารกับผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการผู้อื่นได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์ (PLO4, SubPLOs 4.1, 4.2)
ค่าน้ำหนัก: ร้อยละ 9 (มาจากการประเมิน การวิเคราะห์สถานการณ์และการอภิปรายกลุ่ม ร้อยละ 3 รวมถึงการประเมินรายงานการออกแบบธุรกิจสุขภาพและการนำเสนอ ร้อยละ 6)
CLO 4 สามารถอ้างอิงข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ (PLO6, SubPLOs 6.1)
ค่าน้ำหนัก: ร้อยละ 9 (มาจากการประเมิน การวิเคราะห์สถานการณ์และการอภิปรายกลุ่ม ร้อยละ 2 รวมถึงการประเมินรายงานการออกแบบธุรกิจสุขภาพและการนำเสนอ ร้อยละ 4)
ASSESSMENT STANDARDS
Assessment standards
Grading criteria
Performance
Excellent
A
Students show excellent ability to analyze and critically synthesize all aspects of the course as outlined in course objectives. They have extensive knowledge to fulfill the course objectives and develop their own solutions based on skills acquired from the course.
GOOD
B+/B
Students show evidence of knowing how to apply appropriate concepts and theories to handle related case examples.
MARGINAL
C+/C
Students know how to apply concepts and theories to address related issues as outlined in course objectives, but are marginally familiar with how to integrate skills and knowledge to handle complex cases or problems
DO NOT MEET EXPECTATION
D+/D/F
Students show lack of understanding in concepts and theories as outlined in course objectives, and are able to handle only simple problems, still with errors.
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
บทความชวนคิดด้านธุรกิจ
คลิกที่นี่เพื่อเข้าดูบทความธุรกิจ ตั้งแต่การกาโอกาศ การตั้งกิจการ การพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ การพัฒนาโครงสร้างองค์กร การทำการตลาด การตลาดดิจิทัล การเงินและการเข้าถึงแหล่งทุน รวมถึงการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ตลาดทุน